top of page

“ถ้าผู้มีปัญญา
ย่อมระลึกถึงพระคุณ
ของผู้มีอุปการคุณได้
เราต้องระลึกถึงและตอบแทน
พระคุณของท่าน”
-หลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก-



“ถ้าผู้มีปัญญา ย่อมระลึกถึงพระคุณของผู้มีอุปการคุณได้
เราต้องระลึกถึง และตอบแทนพระคุณของท่าน”
-หลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก-
ประวัติหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
หลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
มีนามเดิมว่า : อินทร์ถวาย ผิวขำ
เกิดเมื่อ : วันศุกร์ที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๘
ตรงกับ แรม ๑ ค่ำ เดือน ๕ ปีระกา
ณ บ้านหนองแวง ตำบลหนองสูงใต้ อำเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร (จังหวัดนครพนมในขณะนั้น)
โยมบิดา : คุณพ่อแดง ผิวขำ
โยมมารดา : คุณแม่จอมแก้ว ผิวขำ
เป็นบุตรลำดับที่ ๖ ในจำนวนพี่น้อง ๗ คน
โดยเป็นผู้หญิง ๓ คน และผู้ชาย ๔ คน
ตระกูล “ผิวขำ” เป็นตระกูลสัมมาทิฐิ สืบเชื้อสายมาจากชนเผ่าภูไท มาตั้งรกราก ณ หมู่บ้านคำชะอี จังหวัดมุกดาหาร ประกอบอาชีพเกษตรกรรมทำนา ทำไร่ ปลูกหม่อน
เลี้ยงไหม ทอไหม
คุณแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ คือผู้ที่ตั้งชื่อให้ว่า
"อินทร์ถวาย"

ประวัติหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
หลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
มีนามเดิมว่า : อินทร์ถวาย ผิวขำ
เกิดเมื่อ : วันศุกร์ที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๘
ตรงกับ แรม ๑ ค่ำ เดือน ๕ ปีระกา
ณ บ้านหนองแวง ตำบลหนองสูงใต้ อำเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร (จังหวัดนครพนมในขณะนั้น)
โยมบิดา : คุณพ่อแดง ผิวขำ
โยมมารดา : คุณแม่จอมแก้ว ผิวขำ
เป็นบุตรลำดับที่ ๖ ในจำนวนพี่น้อง ๗ คน
โดยเป็นผู้หญิง ๓ คน และผู้ชาย ๔ คน
ตระกูล “ผิวขำ” เป็นตระกูลสัมมาทิฐิ สืบเชื้อสายมาจากชนเผ่าภูไท มาตั้งรกราก ณ หมู่บ้านคำชะอี จังหวัดมุกดาหาร ประกอบอาชีพเกษตรกรรมทำนา ทำไร่ ปลูกหม่อน
เลี้ยงไหม ทอไหม
คุณแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ คือผู้ที่ตั้งชื่อให้ว่า "อินทร์ถวาย

ประวัติหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
หลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก มีนามเดิมว่า : อินทร์ถวาย ผิวขำ
เกิดเมื่อ : วันศุกร์ที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๘ ตรงกับ แรม ๑ ค่ำ เดือน ๕ ปีระกา
ณ บ้านหนองแวง ตำบลหนองสูงใต้ อำเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร (จังหวัดนครพนมในขณะนั้น)
โยมบิดา : คุณพ่อแดง ผิวขำ
โยมมารดา : คุณแม่จอมแก้ว ผิวขำ
เป็นบุตรลำดับที่ ๖ ในจำนวนพี่น้อง ๗ คน โดยเป็นผู้หญิง ๓ คน และผู้ชาย ๔ คน
ตระกูล “ผิวขำ” เป็นตระกูลสัมมาทิฐิ สืบเชื้อสายมาจากชนเผ่าภูไท มาตั้งรกราก ณ หมู่บ้านคำชะอี จังหวัดมุกดาหาร
ประกอบอาชีพเกษตรกรรมทำนา ทำไร่ ปลูกหม่อน เลี้ยงไหม ทอไหม
โดยคุณแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ คือผู้ที่ตั้งชื่อให้ว่า "อินทร์ถวาย




เข้าสู่ร่มกาสาวพัสตร์
เตรียมบรรพชา : ช่วงต้นปี พ.ศ. ๒๕๐๐ ขณะที่หลวงพ่อมีอายุ ๑๑ ปี และพึ่งสำเร็จการศึกษาจากชั้น ป.๔ ในช่วงนั้น หลวงปู่หล้า เขมปัตโต ได้มาจำพรรษา ณ วัดบรรพตคีรี (ภูจ้อก้อ) อ.หนองสูง จ.มุกดาหาร ทำให้หลวงพ่อได้มีโอกาสเข้าไปอุปัฏฐากรับใช้หลวงปู่หล้าที่วัด โดยหลวงปู่หล้าได้เมตตาสั่งสอน ข้อวัตร ข้อปฏิบัติ ของพระภิกษุสามเณรที่จะเข้ามาบวชในพุทธศาสนา และฝึกหลวงพ่อท่องขานนาค เตรียมบรรพชาเป็นสามเณร
บรรพชา : หลวงปู่หล้า เขมปัตโตได้พาหลวงพ่อไปบรรพชาสามเณร ณ วัดป่ากลางสนาม อ.หนองสูง จ.มุกดาหาร (เดิมคือ ต.หนองสูง อ.คำชะอี จ.นครพนม) ในวันศุกร์ที่ ๑๒ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๐๐ โดยพระมุกดาหารโมลี เจ้าคณะอำเภอได้มอบหมายให้ หลวงปู่กงแก้ว ขันติโก เจ้าคณะตำบล เป็นพระอุปัชฌาย์ในการบรรพชาสามเณร
ชีวิตนักบวช
ชีวิตสามเณร : หลังจากบรรพชาเป็นสามเณรแล้ว หลวงพ่อได้อยู่ศึกษา ปฏิบัติธรรมและการเจริญภาวนากับหลวงปู่หล้า เขมปัตโต ณ วัดบรรพตคีรี (ภูจ้อก้อ) เป็นระยะเวลา ๘ ปี โดยหลวงพ่อสามารถท่องสวดปาฏิโมกข์ได้ ตั้งแต่ตอนเป็นสามเณร
อุปสมบท : เมื่อได้อายุครบอุปสมบท หลวงพ่อจึงได้รับการญัตติเป็นพระภิกษุที่ วัดศิลาวิเวก อ.เมือง จ.มุกดาหาร ในวันศุกร์ที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๐๘ โดยมี หลวงปู่คำ คัมภีรญาโณ เป็นพระอุปัชฌาย์ ซึ่งท่านเป็นผู้ให้ฉายาหลวงพ่อว่า “สนฺตุสฺสโก” มีความหมายว่า ผู้มักน้อยสันโดษ

เข้าสู่ร่มกาสาวพัสตร์
เตรียมบรรพชา : ช่วงต้นปี พ.ศ. ๒๕๐๐ ขณะที่หลวงพ่อมีอายุ ๑๑ ปี และพึ่งสำเร็จการศึกษาจากชั้น ป.๔ ในช่วงนั้น หลวงปู่หล้า เขมปัตโต ได้มาจำพรรษา ณ วัดบรรพตคีรี (ภูจ้อก้อ) อ.หนองสูง จ.มุกดาหาร ทำให้หลวงพ่อได้มีโอกาสเข้าไปอุปัฏฐากรับใช้หลวงปู่หล้าที่วัด โดยหลวงปู่หล้าได้เมตตาสั่งสอน ข้อวัตร ข้อปฏิบัติ ของพระภิกษุสามเณรที่จะเข้ามาบวชในพุทธศาสนา และฝึกหลวงพ่อท่องขานนาค เตรียมบรรพชาเป็นสามเณร
บรรพชา : หลวงปู่หล้า เขมปัตโตได้พาหลวงพ่อไปบรรพชาสามเณร ณ วัดป่ากลางสนาม อ.หนองสูง จ.มุกดาหาร (เดิมคือ ต.หนองสูง อ.คำชะอี จ.นครพนม) ในวันศุกร์ที่ ๑๒ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๐๐ โดยพระมุกดาหารโมลี เจ้าคณะอำเภอได้มอบหมายให้ หลวงปู่กงแก้ว ขันติโก เจ้าคณะตำบล เป็นพระอุปัชฌาย์ในการบรรพชาสามเณร
ชีวิตนักบวช
ชีวิตสามเณร : หลังจากบรรพชาเป็นสามเณรแล้ว หลวงพ่อได้อยู่ศึกษา ปฏิบัติธรรมและการเจริญภาวนากับหลวงปู่หล้า เขมปัตโต ณ วัดบรรพตคีรี (ภูจ้อก้อ) เป็นระยะเวลา ๘ ปี โดยหลวงพ่อสามารถท่องสวดปาฏิโมกข์ได้ ตั้งแต่ตอนเป็นสามเณร
อุปสมบท : เมื่อได้อายุครบอุปสมบท หลวงพ่อจึงได้รับการญัตติเป็นพระภิกษุที่ วัดศิลาวิเวก อ.เมือง จ.มุกดาหาร ในวันศุกร์ที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๐๘ โดยมี หลวงปู่คำ คัมภีรญาโณ เป็นพระอุปัชฌาย์ ซึ่งท่านเป็นผู้ให้ฉายาหลวงพ่อว่า “สนฺตุสฺสโก” มีความหมายว่า ผู้มักน้อยสันโดษ

เข้าสู่ร่มกาสาวพัสตร์
เตรียมบรรพชา : ช่วงต้นปี พ.ศ. ๒๕๐๐ ขณะที่หลวงพ่อมีอายุ ๑๑ ปี และพึ่งสำเร็จการศึกษาจากชั้น ป.๔ ในช่วงนั้น หลวงปู่หล้า เขมปัตโต ได้มาจำพรรษา ณ วัดบรรพตคีรี (ภูจ้อก้อ) อ.หนองสูง จ.มุกดาหาร ทำให้หลวงพ่อได้มีโอกาสเข้าไปอุปัฏฐากรับใช้หลวงปู่หล้าที่วัด โดยหลวงปู่หล้าได้เมตตาสั่งสอน ข้อวัตร ข้อปฏิบัติ ของพระภิกษุสามเณรที่จะเข้ามาบวชในพุทธศาสนา และฝึกหลวงพ่อท่องขานนาค เตรียมบรรพชาเป็นสามเณร
บรรพชา : หลวงปู่หล้า เขมปัตโตได้พาหลวงพ่อไปบรรพชาสามเณร ณ วัดป่ากลางสนาม อ.หนองสูง จ.มุกดาหาร (เดิมคือ ต.หนองสูง อ.คำชะอี จ.นครพนม) ในวันศุกร์ที่ ๑๒ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๐๐ โดยพระมุกดาหารโมลี เจ้าคณะอำเภอได้มอบหมายให้ หลวงปู่กงแก้ว ขันติโก เจ้าคณะตำบล เป็นพระอุปัชฌาย์ในการบรรพชาสามเณร
ชีวิตนักบวช
ชีวิตสามเณร : หลังจากบรรพชาเป็นสามเณรแล้ว หลวงพ่อได้อยู่ศึกษา ปฏิบัติธรรมและการเจริญภาวนากับหลวงปู่หล้า เขมปัตโต ณ วัดบรรพตคีรี (ภูจ้อก้อ) เป็นระยะเวลา ๘ ปี โดยหลวงพ่อสามารถท่องสวดปาฏิโมกข์ได้ ตั้งแต่ตอนเป็นสามเณร
อุปสมบท : เมื่อได้อายุครบอุปสมบท หลวงพ่อจึงได้รับการญัตติเป็นพระภิกษุที่ วัดศิลาวิเวก อ.เมือง จ.มุกดาหาร ในวันศุกร์ที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๐๘ โดยมี หลวงปู่คำ คัมภีรญาโณ เป็นพระอุปัชฌาย์ ซึ่งท่านเป็นผู้ให้ฉายาหลวงพ่อว่า “สนฺตุสฺสโก” มีความหมายว่า ผู้มักน้อยสันโดษ

การจำพรรษา
พ.ศ. ๒๕๐๘ : พรรษาแรก หลวงพ่อได้อยู่จำพรรษา กับหลวงปู่หล้า เขมปัตโต ที่วัดภูจ้อก้อ
พ.ศ. ๒๕๐๙ : พรรษาที่ ๒ ได้ไปจำพรรษากับ
หลวงปู่จาม มหาปุญโญ ที่วัดป่าวิเวกวัฒนาราม
บ้านห้วยทราย อ.คำชะอี จ.มุกดาหาร ๑ พรรษา
พ.ศ. ๒๕๑๐ : พรรษาที่ ๓ หลวงพ่อได้ติดตามองค์หลวงปู่จาม ขึ้นไปจังหวัดเชียงใหม่ และได้มีโอกาสจำพรรษากับหลวงปู่แหวน สุจิณโณ ณ วัดดอยแม่ปั๋ง อ.พร้าวจ.เชียงใหม่ เป็นเวลา ๑ พรรษา
พ.ศ. ๒๕๑๑ : พรรษาที่ ๔ หลวงพ่อได้กลับลงมาจากเชียงใหม่ และได้มาจำพรรษา กับหลวงปู่จาม มหาปุญโญ ที่วัดป่าห้วยทราย อ.คำชะอี จ.มุกดาหาร อีกครั้ง
พ.ศ. ๒๕๑๒ : ตั้งแต่พรรษาที่ ๕ เป็นต้นไป หลวงพ่อได้เข้าไปศึกษาและจำพรรษากับ องค์หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน ณ วัดป่าบ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี (พ.ศ. ๒๕๑๒-๒๕๒๕) รวมเป็นระยะเวลากว่า ๑๓ ปี
ในช่วงนอกพรรษาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๖ เป็นต้นมา หลวงพ่อได้ลาองค์หลวงตา มาเที่ยววิเวกธุดงค์ ในแถบ จ.อุดรธานี เลย หนองคาย สกลนคร นครพนม และ มุกดาหารเพื่อปฏิบัติภาวนาหาความสงบเข้าสู่จิตใจ ตามแนวแถวพ่อแม่ครูบาอาจารย์พระธุดงค์กรรมฐาน

การจำพรรษา
พ.ศ. ๒๕๐๘ : พรรษาแรก ได้อยู่จำพรรษา กับหลวงปู่หล้า เขมปัตโต ที่วัดภูจ้อก้อ
พ.ศ. ๒๕๐๙ : พรรษาที่ ๒ ได้ไปจำพรรษากับ หลวงปู่จาม มหาปุญโญ ที่วัดป่าวิเวกวัฒนาราม
บ้านห้วยทราย อ.คำชะอี จ.มุกดาหาร ๑ พรรษา
พ.ศ. ๒๕๑๐ : พรรษาที่ ๓ หลวงพ่อได้ติดตามองค์หลวงปู่จาม ขึ้นไปจังหวัดเชียงใหม่ และได้มีโอกาส
จำพรรษากับหลวงปู่แหวน สุจิณโณ ณ วัดดอยแม่ปั๋ง อ.พร้าวจ.เชียงใหม่ เป็นเวลา ๑ พรรษา
พ.ศ. ๒๕๑๑ : พรรษาที่ ๔ หลวงพ่อได้กลับลงมาจากเชียงใหม่ และได้มาจำพรรษา
กับหลวงปู่จาม มหาปุญโญ ที่วัดป่าห้วยทราย อ.คำชะอี จ.มุกดาหาร อีกครั้ง
พ.ศ. ๒๕๑๒ : ตั้งแต่พรรษาที่ ๕ เป็นต้นไป หลวงพ่อได้เข้าไปศึกษาและจำพรรษากับ
องค์หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน ณ วัดป่าบ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี
(พ.ศ. ๒๕๑๒-๒๕๒๕) รวมเป็นระยะเวลากว่า ๑๓ ปี
ในช่วงนอกพรรษาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๖ เป็นต้นมา หลวงพ่อได้ลาองค์หลวงตา มาเที่ยววิเวกธุดงค์ ในแถบ จ.อุดรธานี เลย หนองคาย สกลนคร นครพนม และ มุกดาหารเพื่อปฏิบัติภาวนาหาความสงบเข้าสู่จิตใจ ตามแนวแถวพ่อแม่ครูบาอาจารย์พระธุดงค์กรรมฐาน

การจำพรรษา
พ.ศ. ๒๕๐๘ : พรรษาแรก ได้อยู่จำพรรษา กับหลวงปู่หล้า เขมปัตโต ที่วัดภูจ้อก้อ
พ.ศ. ๒๕๐๙ : พรรษาที่ ๒ ได้ไปจำพรรษากับ หลวงปู่จาม มหาปุญโญ ที่วัดป่าวิเวกวัฒนาราม
บ้านห้วยทราย อ.คำชะอี จ.มุกดาหาร ๑ พรรษา
พ.ศ. ๒๕๑๐ : พรรษาที่ ๓ หลวงพ่อได้ติดตามองค์หลวงปู่จาม ขึ้นไปจังหวัดเชียงใหม่ และได้มีโอกาส
จำพรรษากับหลวงปู่แหวน สุจิณโณ ณ วัดดอยแม่ปั๋ง อ.พร้าวจ.เชียงใหม่ เป็นเวลา ๑ พรรษา
พ.ศ. ๒๕๑๑ : พรรษาที่ ๔ หลวงพ่อได้กลับลงมาจากเชียงใหม่ และได้มาจำพรรษา
กับหลวงปู่จาม มหาปุญโญ ที่วัดป่าห้วยทราย อ.คำชะอี จ.มุกดาหาร อีกครั้ง
พ.ศ. ๒๕๑๒ : ตั้งแต่พรรษาที่ ๕ เป็นต้นไป หลวงพ่อได้เข้าไปศึกษาและจำพรรษากับ
องค์หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน ณ วัดป่าบ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี
(พ.ศ. ๒๕๑๒-๒๕๒๕) รวมเป็นระยะเวลากว่า ๑๓ ปี
ในช่วงนอกพรรษาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๖ เป็นต้นมา หลวงพ่อได้ลาองค์หลวงตา มาเที่ยววิเวกธุดงค์ ในแถบ จ.อุดรธานี เลย หนองคาย สกลนคร นครพนม และ มุกดาหารเพื่อปฏิบัติภาวนาหาความสงบเข้าสู่จิตใจ ตามแนวแถวพ่อแม่ครูบาอาจารย์พระธุดงค์กรรมฐาน

จากบ้านตาดสู่นาคำน้อย
พ.ศ. ๒๕๒๓ : หลวงพ่อได้มีโอกาสเที่ยววิเวกธุดงค์มาที่ บริเวณเขต อ.นายูง จ.อุดรธานี
เห็นว่าเป็นสถานที่สัปปายะเหมาะ สำหรับการปฏิบัติภาวนา และได้รับการอาราธนาจาก คณะศรัทธาญาติโยม พุทธบริษัทในท้องที่ให้จำพรรษา ณ สถานที่แห่งนั้น แต่องค์หลวงตาได้ให้หลวงพ่อกลับ ไปช่วยกิจยังวัดป่าบ้านตาดก่อน
กระทั่งกาลต่อมาหลวงพ่อจึงได้กลับ มายังเขตอำเภอนายูงอีกครั้งและได้ร่วมกับศรัทธาญาติโยมในท้องที่หมู่บ้านนาคำน้อย ร่วมก่อตั้ง “วัดป่านาคำน้อย” ขึ้น โดยองค์หลวงตาได้เมตตาตั้งชื่อวัดให้ว่า “วัดอุดมมงคลวนาราม” หลวงพ่ออินทร์ถวาย ได้ออกจากวัดป่าบ้านตาดในปี พ.ศ. ๒๕๒๖ โดยได้อยู่ศึกษาปฏิบัติธรรมและจำพรรษาร่วมกับองค์หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน ณ วัดป่าบ้านตาด รวมเป็นระยะเวลากว่า ๑๓ ปี
พ.ศ. ๒๕๒๖ : พรรษาที่ ๑๙ หลวงพ่อได้เริ่มจำพรรษา ณ วัดป่านาคำน้อย พร้อมทั้งพัฒนา
เสนาสนะภายในวัดมาตามลำดับ
พ.ศ. ๒๕๒๙ : วัดป่านาคำน้อยได้รับการประกาศตั้งเป็นวัดในพระพุทธศาสนาอย่างถูกต้อง
พ.ศ. ๒๕๓๑ : วัดป่านาคำน้อยได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา และในปีเดียวกันหลวงพ่อได้รับ การแต่งตั้งให้เป็น พระอธิการอินทร์ถวาย สันตุสสโก ดำรงตำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดป่านาคำน้อย ในขณะพรรษา ๒๓

จากบ้านตาดสู่นาคำน้อย
พ.ศ. ๒๕๒๓ : หลวงพ่อได้มีโอกาสเที่ยววิเวกธุดงค์มาที่ บริเวณเขต อ.นายูง จ.อุดรธานี
เห็นว่าเป็นสถานที่สัปปายะเหมาะ สำหรับการปฏิบัติภาวนา และได้รับการอาราธนาจาก คณะศรัทธาญาติโยม พุทธบริษัทในท้องที่ให้จำพรรษา ณ สถานที่แห่งนั้น แต่องค์หลวงตาได้ให้หลวงพ่อกลับ ไปช่วยกิจยังวัดป่าบ้านตาดก่อน
กระทั่งกาลต่อมาหลวงพ่อจึงได้กลับ มายังเขตอำเภอนายูงอีกครั้งและได้ร่วมกับศรัทธาญาติโยมในท้องที่หมู่บ้านนาคำน้อย ร่วมก่อตั้ง “วัดป่านาคำน้อย” ขึ้น โดยองค์หลวงตาได้เมตตาตั้งชื่อวัดให้ว่า “วัดอุดมมงคลวนาราม” หลวงพ่ออินทร์ถวาย ได้ออกจากวัดป่าบ้านตาดในปี พ.ศ. ๒๕๒๖ โดยได้อยู่ศึกษาปฏิบัติธรรมและจำพรรษาร่วมกับองค์หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน ณ วัดป่าบ้านตาด รวมเป็นระยะเวลากว่า ๑๓ ปี
พ.ศ. ๒๕๒๖ : พรรษาที่ ๑๙ หลวงพ่อได้เริ่มจำพรรษา ณ วัดป่านาคำน้อย พร้อมทั้งพัฒนา
เสนาสนะภายในวัดมาตามลำดับ
พ.ศ. ๒๕๒๙ : วัดป่านาคำน้อยได้รับการประกาศตั้งเป็นวัดในพระพุทธศาสนาอย่างถูกต้อง
พ.ศ. ๒๕๓๑ : วัดป่านาคำน้อยได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา และในปีเดียวกันหลวงพ่อได้รับ การแต่งตั้งให้เป็น พระอธิการอินทร์ถวาย สันตุสสโก ดำรงตำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดป่านาคำน้อย ในขณะพรรษา ๒๓

จากบ้านตาดสู่นาคำน้อย
พ.ศ. ๒๕๒๓ : หลวงพ่อได้มีโอกาสเที่ยววิเวกธุดงค์มาที่ บริเวณเขต อ.นายูง จ.อุดรธานี เห็นว่าเป็นสถานที่
สัปปายะเหมาะ สำหรับการปฏิบัติภาวนา และได้รับการอาราธนาจาก คณะศรัทธาญาติโยม
พุทธบริษัทในท้องที่ให้จำพรรษา ณ สถานที่แห่งนั้น แต่องค์หลวงตาได้ให้หลวงพ่อกลับ
ไปช่วยกิจยังวัดป่าบ้านตาดก่อน
กระทั่งกาลต่อมาหลวงพ่อจึงได้กลับ มายังเขตอำเภอนายูงอีกครั้งและได้ร่วมกับศรัทธาญาติโยมในท้องที่หมู่บ้านนาคำน้อย ร่วมก่อตั้ง “วัดป่านาคำน้อย” ขึ้น โดยองค์หลวงตาได้เมตตาตั้งชื่อวัดให้ว่า “วัดอุดมมงคลวนาราม” หลวงพ่ออินทร์ถวาย ได้ออกจากวัดป่าบ้านตาดในปี พ.ศ. ๒๕๒๖ โดยได้อยู่ศึกษาปฏิบัติธรรมและจำพรรษาร่วมกับองค์หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน ณ วัดป่าบ้านตาด รวมเป็นระยะเวลากว่า ๑๓ ปี
พ.ศ. ๒๕๒๕ : พรรษาที่ ๑๙ หลวงพ่อได้เริ่มจำพรรษา ณ วัดป่านาคำน้อย พร้อมทั้งพัฒนา
เสนาสนะภายในวัดมาตามลำดับ
พ.ศ. ๒๕๒๙ : วัดป่านาคำน้อยได้รับการประกาศตั้งเป็นวัดในพระพุทธศาสนาอย่างถูกต้อง
พ.ศ. ๒๕๓๑ : วัดป่านาคำน้อยได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา และในปีเดียวกันหลวงพ่อได้รับ การแต่งตั้งให้เป็น พระอธิการอินทร์ถวาย สันตุสสโก ดำรงตำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดป่านาคำน้อย ในขณะพรรษา ๒๓

ประโยชน์ตนสู่ประโยชน์ท่าน
บทบาทต่อสาธารณะประโยชน์
- ประธานมูลนิธิพิพิธภัณฑ์ธรรมเจดีย์ พระธรรมวิสุธิมงคล (หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน)
- ประธานมูลนิธิหออภิบาลสงฆ์ หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต โรงพยาบาลศรีนครินทร์ จ.ขอนแก่น
- ประธานมูลนิธิอภิบาลสงฆ์หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน โรงพยาบาลอุดรธานี จ.อุดรธานี
- ประธานมูลนิธิวิริยะ ณ ศีลวันต์
- อดีตประธานมูลนิธิสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน วัดป่าบ้านตาด
- ประธานมูลนิธิสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน วัดป่านาคำน้อย
- ประธานการก่อสร้างฝ่ายบรรพชิตพิพิธภัณฑ์ธรรมเจดีย์ฯ จ.อุดรธานี
- ประธานการก่อสร้างเจดีย์เขมปัตตเจดีย์ หลวงปู่หล้า เขมปัตโต จ.มุกดาหาร
- ประธานการก่อสร้างเจดีย์พระศรีไตรรัตนานุสรณ์ คุณแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ จ.มุกดาหาร
ผลงานจากการสร้างคุณประโยชน์ต่อสาธารณะ
- รับรางวัลเข็มเสมาธรรมจักรทองคำ จากกระทรวงศึกษาธิการ
- รับพระราชทานรางวัลพระธาตุพนมทองคำ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น
- รับโล่เชิดชูเกียรติ จากสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
- รับโล่เกียรติคุณ เป็นหนึ่งใน ๑๒๑ คนดีเมืองอุดรธานี จากจังหวัดอุดรธานี
- รางวัลเชิดชูเกียรติผู้ทำคุณประโยชน์แก่การศึกษาขั้นพื้นฐาน จากสำนักงานคณะกรรมการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน
- โล่เกียรติคุณ ประธานกิตติมศักดิ์ฯ ในการระดมทุนการศึกษา จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น
- รางวัลผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรมและศาสนาประจำปี ๖๕ ม.เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
- รางวัลเสาเสมาธรรมจักรพระราชทาน สาขาผู้ทำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา
ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์
- พ.ศ. ๒๕๖๕ ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (ปรัชญาและศาสนาตะวันออก) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
- พ.ศ. ๒๕๖๖ ปริญญาครุศาสตร์อุตสาหกรรมดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (อาชีวศึกษา) ม.เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
- พ.ศ. ๒๕๖๖ ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนา ม.ราชภัฏอุดรธานี

จากประโยชน์ตนสู่ประโยชน์ท่าน
บทบาทต่อสาธารณะประโยชน์
- ประธานมูลนิธิพิพิธภัณฑ์ธรรมเจดีย์ พระธรรมวิสุธิมงคล (หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน)
- ประธานมูลนิธิหออภิบาลสงฆ์ หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต โรงพยาบาลศรีนครินทร์ จ.ขอนแก่น
- ประธานมูลนิธิอภิบาลสงฆ์หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน โรงพยาบาลอุดรธานี จ.อุดรธานี
- ประธานมูลนิธิวิริยะ ณ ศีลวันต์
- อดีตประธานมูลนิธิสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน วัดป่าบ้านตาด
- ประธานมูลนิธิสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน วัดป่านาคำน้อย
- ประธานการก่อสร้างฝ่ายบรรพชิตพิพิธภัณฑ์ธรรมเจดีย์ฯ จ.อุดรธานี
- ประธานการก่อสร้างเจดีย์เขมปัตตเจดีย์ หลวงปู่หล้า เขมปัตโต จ.มุกดาหาร
- ประธานการก่อสร้างเจดีย์พระศรีไตรรัตนานุสรณ์ คุณแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ จ.มุกดาหาร
ผลงานจากการสร้างคุณประโยชน์ต่อสาธารณะ
- รับรางวัลเข็มเสมาธรรมจักรทองคำ จากกระทรวงศึกษาธิการ
- รับพระราชทานรางวัลพระธาตุพนมทองคำ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น
- รับโล่เชิดชูเกียรติ จากสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
- รับโล่เกียรติคุณ เป็นหนึ่งใน ๑๒๑ คนดีเมืองอุดรธานี จากจังหวัดอุดรธานี
- รางวัลเชิดชูเกียรติผู้ทำคุณประโยชน์แก่การศึกษาขั้นพื้นฐาน จากสำนักงานคณะกรรมการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน
- โล่เกียรติคุณ ประธานกิตติมศักดิ์ฯ ในการระดมทุนการศึกษา จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น
- รางวัลผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรมและศาสนาประจำปี ๖๕ ม.เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
- รางวัลเสาเสมาธรรมจักรพระราชทาน สาขาผู้ทำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา
ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์
- พ.ศ. ๒๕๖๕ ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (ปรัชญาและศาสนาตะวันออก) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
- พ.ศ. ๒๕๖๖ ปริญญาครุศาสตร์อุตสาหกรรมดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (อาชีวศึกษา) ม.เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
- พ.ศ. ๒๕๖๖ ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนา ม.ราชภัฏอุดรธานี

จากประโยชน์ตนสู่ประโยชน์ท่าน
บทบาทต่อสาธารณะประโยชน์
- ประธานมูลนิธิพิพิธภัณฑ์ธรรมเจดีย์ พระธรรมวิสุธิมงคล (หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน)
- ประธานมูลนิธิหออภิบาลสงฆ์ หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต โรงพยาบาลศรีนครินทร์ จ.ขอนแก่น
- ประธานมูลนิธิอภิบาลสงฆ์หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน โรงพยาบาลอุดรธานี จ.อุดรธานี
- ประธานมูลนิธิวิริยะ ณ ศีลวันต์
- อดีตประธานมูลนิธิสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน วัดป่าบ้านตาด
- ประธานมูลนิธิสถานีวิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน วัดป่านาคำน้อย
- ประธานการก่อสร้างฝ่ายบรรพชิตพิพิธภัณฑ์ธรรมเจดีย์ฯ จ.อุดรธานี
- ประธานการก่อสร้างเจดีย์เขมปัตตเจดีย์ หลวงปู่หล้า เขมปัตโต จ.มุกดาหาร
- ประธานการก่อสร้างเจดีย์พระศรีไตรรัตนานุสรณ์ คุณแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ จ.มุกดาหาร
ผลงานจากการสร้างคุณประโยชน์ต่อสาธารณะ
- รับรางวัลเข็มเสมาธรรมจักรทองคำ จากกระทรวงศึกษาธิการ
- รับพระราชทานรางวัลพระธาตุพนมทองคำ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น
- รับโล่เชิดชูเกียรติ จากสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
- รับโล่เกียรติคุณ เป็นหนึ่งใน ๑๒๑ คนดีเมืองอุดรธานี จากจังหวัดอุดรธานี
- รางวัลเชิดชูเกียรติผู้ทำคุณประโยชน์แก่การศึกษาขั้นพื้นฐาน จากสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- โล่เกียรติคุณ ประธานกิตติมศักดิ์ฯ ในการระดมทุนการศึกษา จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น
- รางวัลผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรมและศาสนาประจำปี ๖๕ ม.เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
- รางวัลเสาเสมาธรรมจักรพระราชทาน สาขาผู้ทำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา
ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์
- พ.ศ. ๒๕๖๕ ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (ปรัชญาและศาสนาตะวันออก) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
- พ.ศ. ๒๕๖๖ ปริญญาครุศาสตร์อุตสาหกรรมดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (อาชีวศึกษา) ม.เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
- พ.ศ. ๒๕๖๖ ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนา ม.ราชภัฏอุดรธานี
ถวายมุทิตาสักการะ
๘ กรกฏาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ องค์หลวงพ่อได้รับพระราชทานสมณศักดิ์
พระราชาคณะชั้นราช ฝ่ายวิปัสสนาธุระ ที่
"พระราชภาวนาวชิรากร สุนทรญาณวรกิจ ยติคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี"
ปัจจุบัน : พ.ศ. ๒๕๖๗ หลวงพ่อมีอายุ ๗๙ ปี พรรษา ๕๙
และหลวงพ่อจะมีอายุครบ ๘๐ ปี ในวันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๖๘ นี้
ดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาส วัดป่านาคำน้อย และ รักษาการเจ้าอาวาสวัดถ้ำกลองเพล
เวลาเข้ากราบหลวงพ่อ
ท่านสามารถเข้ากราบหลวงพ่อได้ ๒ เวลาคือ
๑.เวลาเช้า : หลังฉันจังหันเช้าเสร็จ ตั้งแต่ ๐๙.๐๐-๑๐.๐๐ น.
๒.เวลาบ่าย : ณ โรงน้ำร้อน เวลา ๑๔.๐๐-๑๗.๐๐ น.


ถวายมุทิตาสักการะ
๘ กรกฏาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ องค์หลวงพ่อได้รับพระราชทานสมณศักดิ์
พระราชาคณะชั้นราช ฝ่ายวิปัสสนาธุระ ที่
"พระราชภาวนาวชิรากร สุนทรญาณวรกิจ ยติคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี"
ปัจจุบัน : พ.ศ. ๒๕๖๖ หลวงพ่อมีอายุ ๗๘ ปี พรรษา ๕๘
ดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาส วัดป่านาคำน้อย และ รักษาการเจ้าอาวาสวัดถ้ำกลองเพล
ถวายมุทิตาสักการะ
๘ กรกฏาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ องค์หลวงพ่อได้รับพระราชทานสมณศักดิ์
พระราชาคณะชั้นราช ฝ่ายวิปัสสนาธุระ ที่
"พระราชภาวนาวชิรากร สุนทรญาณวรกิจ ยติคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี"
ปัจจุบัน : พ.ศ. ๒๕๖๖ หลวงพ่อมีอายุ ๗๘ ปี พรรษา ๕๘
ดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาส วัดป่านาคำน้อย และ รักษาการเจ้าอาวาสวัดถ้ำกลองเพล
เวลาเข้ากราบหลวงพ่อ
ท่านสามารถเข้ากราบหลวงพ่อได้ ๒ เวลาคือ
๑.เวลาเช้า : หลังฉันจังหันเช้าเสร็จ ตั้งแต่ ๐๙.๐๐-๑๐.๐๐ น.
๒.เวลาบ่าย : ณ โรงน้ำร้อน เวลา ๑๔.๐๐-๑๗.๐๐ น.

ถวายมุทิตาสักการะ
๘ กรกฏาคม พ.ศ. ๒๕๖๔
องค์หลวงพ่อได้รับพระราชทานสมณศักดิ์
พระราชาคณะชั้นราช ฝ่ายวิปัสสนาธุระ ที่
"พระราชภาวนาวชิรากร
สุนทรญาณวรกิจ ยติคณิสสร
บวรสังฆาราม คามวาสี"
ปัจจุบัน : พ.ศ. ๒๕๖๗ หลวงพ่อมีอายุ ๗๙ ปี
พรรษา ๕๘ และหลวงพ่อจะมีอายุครบ ๘๐ ปี
ในวันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๖๘ นี้
ดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาส วัดป่านาคำน้อย
และ รักษาการเจ้าอาวาสวัดถ้ำกลองเพล
เวลาเข้ากราบหลวงพ่อ
ท่านสามารถเข้ากราบหลวงพ่อได้ ๒ เวลาคือ
๑.เวลาเช้า
หลังฉันจังหันเช้าเสร็จ ตั้งแต่ ๐๙.๐๐-๑๐.๐๐ น.
๒.เวลาบ่าย
ณ โรงน้ำร้อน เวลา ๑๔.๐๐-๑๗.๐๐ น.
bottom of page